จริงหรือ วิ่งแล้วขาใหญ่
เป็นที่ถกเถียงกันมานาน กับเรื่องน่องใหญ่หรือกล้ามเนื้อขาชัดขึ้นเมื่อวิ่งหนักๆซึ่งถ้าหากมองในมุมคนทั่วๆไปที่ไม่ได้คลุกคลีกับการออกกำลังกาย หรือ ผู้ที่เริ่มลดน้ำหนักใหม่ๆก็จะมองว่ามันมีผลจริงๆ เพราะวิ่งๆไปทำไม๊ไมขามันเเน่นขึ้นใหญ่ขึ้น ซึ่งความจริงเเล้วมันอาจจะเป็นแค่ข้ออ้างๆเล็กๆที่ทำให้คุณกลัวการวิ่งก็เป็นได้
ในเรื่องนี้ แพทย์หญิงเสาวนิตย์ กมลธรรม อธิบายไว้ว่า ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นข้อกังวล (ข้ออ้าง) ของสาวๆ กลัววิ่งไปซักระยะหนึ่งน่องอันสวยงามจะกลายเป็นกล้ามเนื้อก้อนแข็ง แต่ทางด้านวิทยาศาสตร์การกีฬา กล่าวว่า การออกกำลังใดๆ ที่ไม่ได้ใช้แรงเต็มที่ จะไม่ทำให้กล้ามเนื้อเพิ่มขนาด การวิ่งเป็นการใช้งานกล้ามเนื้อที่ละน้อยแต่บ่อยๆ นานๆ แบบนี้จะมีแต่ความเข็งแรง โดยไม่เพิ่มขนาดนอกจากนี้ แจ็ค เอช.วิลมอร์ จากสถาบันสุขภาพนักกีฬาแห่งชาติอเมริกา พบว่า วิ่งอาจเพิ่มความแข็งแรงให้กล้ามเนื้อได้ถึงร้อยละ 44 โดยเกือบไม่มีการเพิ่มของขนาดเลย น่องที่ทู่ ตะโพกที่ใหญ่ พุงที่เกะกะ ต้นขาและแขนที่เทอะทะ เป็นผลจากการสะสมของไขมันในส่วนนั้นๆ การวิ่งเป็นการ รีด ไขมันอันวิเศษ จึงไม่ต้องสงสัยเลยว่า ทำไมนักวิ่งหญิงจึงมีรูปร่างเพรียวลม สมส่วน
ผู้หญิงส่วนใหญ่มักจะกลัวว่า การวิ่งหรือการปั่นจักรยานมากๆ จะทำให้น่องโตเหมือนผู้ชาย ซึ่งเป็นความเข้าใจที่ไม่ถูกต้อง ดังที่ได้กล่าวมาแล้วในตอนต้นว่าการเพิ่มมวลของกล้ามเนื้อต้องอาศัยเพศชาย คือ Testosterone ผู้หญิงที่ออกกำลังกายจะมีกล้ามเนื้อที่แข็งแรงขึ้น แต่มัดกล้ามเนื้อจะไม่ใหญ่ (Browne and Wilmor 1974) การออกกำลังกายจะทำให้ปริมาณไขมันที่แทรกอยู่ระหว่างมัดกล้ามเนื้อลดลงทำให้รู้สึกว่ากล้ามเนื้อมีความตึงแข็งขึ้น กว่าเดิมได้บ้าง แต่ถ้าหยุดออกกำลังกายเมื่อใด ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อจะค่อยๆ ลดลงและมีไขมันมาแทรกมากขึ้น กล้ามเนื้อจะนุ่มลงคล้ายกับระยะก่อนออกกำลังกายได้ (การออกกำลังกายแบบใช้แรงเต็มที่ คือ อย่างที่นักเพาะกายทำกัน โดยการยกน้ำหนักมากๆ ค้าง ไว้นานๆ แบบนี้จะบริหารให้กล้ามเนื้อใหญ่ขึ้น)
เรื่องน่องใหญ่ ต้องแบ่งเป็น วิ่งเพื่อสุขภาพ, วิ่งเพื่อลดน้ำหนัก หรือ วิ่งเพื่อการแข่งขัน ถ้าวิ่งเพื่อสุขภาพ คือ วิ่งอาทิตย์ละ 3
ในเรื่องนี้ แพทย์หญิงเสาวนิตย์ กมลธรรม อธิบายไว้ว่า ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นข้อกังวล (ข้ออ้าง) ของสาวๆ กลัววิ่งไปซักระยะหนึ่งน่องอันสวยงามจะกลายเป็นกล้ามเนื้อก้อนแข็ง แต่ทางด้านวิทยาศาสตร์การกีฬา กล่าวว่า การออกกำลังใดๆ ที่ไม่ได้ใช้แรงเต็มที่ จะไม่ทำให้กล้ามเนื้อเพิ่มขนาด การวิ่งเป็นการใช้งานกล้ามเนื้อที่ละน้อยแต่บ่อยๆ นานๆ แบบนี้จะมีแต่ความเข็งแรง โดยไม่เพิ่มขนาดนอกจากนี้ แจ็ค เอช.วิลมอร์ จากสถาบันสุขภาพนักกีฬาแห่งชาติอเมริกา พบว่า วิ่งอาจเพิ่มความแข็งแรงให้กล้ามเนื้อได้ถึงร้อยละ 44 โดยเกือบไม่มีการเพิ่มของขนาดเลย น่องที่ทู่ ตะโพกที่ใหญ่ พุงที่เกะกะ ต้นขาและแขนที่เทอะทะ เป็นผลจากการสะสมของไขมันในส่วนนั้นๆ การวิ่งเป็นการ รีด ไขมันอันวิเศษ จึงไม่ต้องสงสัยเลยว่า ทำไมนักวิ่งหญิงจึงมีรูปร่างเพรียวลม สมส่วน
ผู้หญิงส่วนใหญ่มักจะกลัวว่า การวิ่งหรือการปั่นจักรยานมากๆ จะทำให้น่องโตเหมือนผู้ชาย ซึ่งเป็นความเข้าใจที่ไม่ถูกต้อง ดังที่ได้กล่าวมาแล้วในตอนต้นว่าการเพิ่มมวลของกล้ามเนื้อต้องอาศัยเพศชาย คือ Testosterone ผู้หญิงที่ออกกำลังกายจะมีกล้ามเนื้อที่แข็งแรงขึ้น แต่มัดกล้ามเนื้อจะไม่ใหญ่ (Browne and Wilmor 1974) การออกกำลังกายจะทำให้ปริมาณไขมันที่แทรกอยู่ระหว่างมัดกล้ามเนื้อลดลงทำให้รู้สึกว่ากล้ามเนื้อมีความตึงแข็งขึ้น กว่าเดิมได้บ้าง แต่ถ้าหยุดออกกำลังกายเมื่อใด ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อจะค่อยๆ ลดลงและมีไขมันมาแทรกมากขึ้น กล้ามเนื้อจะนุ่มลงคล้ายกับระยะก่อนออกกำลังกายได้ (การออกกำลังกายแบบใช้แรงเต็มที่ คือ อย่างที่นักเพาะกายทำกัน โดยการยกน้ำหนักมากๆ ค้าง ไว้นานๆ แบบนี้จะบริหารให้กล้ามเนื้อใหญ่ขึ้น)
เรื่องน่องใหญ่ ต้องแบ่งเป็น วิ่งเพื่อสุขภาพ, วิ่งเพื่อลดน้ำหนัก หรือ วิ่งเพื่อการแข่งขัน ถ้าวิ่งเพื่อสุขภาพ คือ วิ่งอาทิตย์ละ 3
ที่มา http://guru.sanook.com
เรียบเรียงโดย POO / Tonan Asia Autotech
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น